Wednesday, December 14, 2016

ฉันเกิดใน รัชกาลที่ ๙

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช 



พระบรมนามาภิไธย : พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช
พระปรมาภิไธย : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร[1]
พระราชอิสริยยศ : พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย
ราชวงศ์ : ราชวงศ์จักรี
ครองราชย์ : 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489
บรมราชาภิเษก : 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
สวรรคต    : 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (88 พรรษา) โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
รัชกาลก่อนหน้า : พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
วัดประจำรัชกาล : วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก
พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร : พระพุทธรูปปางอภัยมุทรา พุทธลักษณะสุโขทัย
ข้อมูลส่วนพระองค์
พระราชสมภพ : 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 / เคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา
พระบรมราชชนก : สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
พระบรมราชชนนี : สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
พระบรมราชินี : สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ



พระราชโอรส/ธิดา

1 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
2 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร
3 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี
4 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พระราชสมภพ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่เก้าแห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ขณะนี้ จึงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้เสวยราชย์นานที่สุดในโลกที่มีพระชนมชีพอยู่ และยาวนานที่สุดในประเทศไทย

พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ทรงมีส่วนช่วยให้ประเทศไทยเปลี่ยนผ่านจากระบอบทหารเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้โดยตลอดรอดฝั่งในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2530

 และได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น ในคราวปี 2524 และปี 2528 กระนั้น ก็ได้ทรงแต่งตั้งหัวหน้าคณะยึดอำนาจหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน

ในช่วงปลายพุทธทศวรรษที่ 2540 ตลอดรัชสมัยของพระองค์จนถึงปี พ.ศ. 2555 ได้เกิดการรัฐประหารโดยกองทัพมากกว่า 15 ครั้ง รัฐธรรมนูญ 18 ฉบับ และนายกรัฐมนตรี 28 คน

ประชาชนชาวไทยจำนวนมากเคารพพระองค์ อนึ่ง ตามรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะและผู้ใดจะละเมิดมิได้ ส่วนประมวลกฎหมายอาญาว่า การดูหมิ่น หมิ่นประมาท หรืออาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์เป็นความผิดอาญา

คณะรัฐมนตรีหลายชุดที่ได้รับการเลือกตั้งมาก็ถูกคณะทหารล้มล้างไปด้วยข้อกล่าวหาว่านักการเมืองผู้ใหญ่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ กระนั้น พระองค์เองได้ตรัสเมื่อปี 2548 ว่า สาธารณชนพึงวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ได้

พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดำริในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โคฟี แอนนัน เลขาธิการสหประชาชาติ ได้ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์กับทั้งพระองค์ยังทรงเป็นเจ้าของสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ งานพระราชนิพนธ์ และงานดนตรีจำนวนหนึ่งด้วย

ด้านสินทรัพย์ของพระองค์นิตยสารฟอบส์ประเมินว่า พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ รวมถึงสินทรัพย์ที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์จัดการอยู่นั้น มีมากกว่าสามหมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐทั้งได้จัดอันดับให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ผู้มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก 3 ปีติดต่อกันมาจนปัจจุบัน

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์นั้นใช้สินทรัพย์เพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระมหากษัตริย์แต่พระองค์เดียว

ขณะที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชก็ได้ทรงอุทิศพระวรกายและพระราชทรัพย์ไปในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายต่อหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ อนุสรณ์ถึงพระองค์นั้นพบได้ดาษดื่นในสื่อมวลชนไทย

นับตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2552 พระองค์แปรพระราชฐานจากพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ไป โรงพยาบาลศิริราช อันเนื่องมาจากพระโรคไข้หวัดและพระปัปผาสะอักเสบ

ในเดือนตุลาคม ปีเดียวกันนั้น ข่าวลือว่าพระอาการประชวรทรุดหนักลง ได้ยังให้ตลาดหุ้นไทยร่วงลงอย่างสาหัส พระองค์ทรงหายจากประชวรเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 


Tuesday, October 4, 2016

My Local

                                         My Local 

Nakhon  SiT hammarat




     It is one of the most ancient cities of Thailand, previously the Kingdom of Ligor, and contains many buildings and ruins of historical significance. The king of Srivijaya "had established a foothold on the Malay Peninsular at Ligor" by 775, where he "built various edifices, including a sanctuary dedicated to the Buddha and to the Bodhisattvas Padmapani and Vajrapani." [1]:84–85,91 With the fall of the Siamese capital of Ayutthaya in 1767 it regained independence, but returned to its allegiance on the founding of Bangkok. In the 17th century British, Portuguese, and Dutch merchants set up factories there and carried on an extensive trade. Its origins are not fully known. Most historians recognize the Tambralinga Kingdom of Chinese records as a precursor of Nakhon Si Thammarat. The town chronicles of this time are hardly separable from legend, but they do tell of an abandonment and refounding of the town, which would explain the break in history between Tambralinga and Nakhon Si Thammarat. References to a country named Poling appear in Chinese chronicles from the Tang dynasty period down to the early Ming dynasty. Many scholars identify Poling with Maling and Danmaling was one of the member-states of Sanfoqi (the Chinese equivalent to Srivijaya) in the central part of the Malayu Peninsula or today southern Thailand. Poling may also be equated to the Tambralingarat (Tambralinga State) that appears in Indian sources. By the end of the 12th century, Tambralinga had become independent of Srivijaya Kingdom. Its rapid rise to prominence from the 13th century to the beginning of 14th century, Tambralinga had occupied the entire Malay Peninsula and become one of the dominant south-east Asian states. By the end of the 14th century, Tambralinga had become a part of Siam (now Thailand) named Nakhon Si Thammaraj. At the time of the Sukhothai Kingdom, the Nakhon Si Thammarat Kingdom was already listed as one of the kingdoms under control of the Thai, which it has remained during most of its history. It was usually known as Ligor to European merchants in the 16th century. During the period of the five separate states following the fall of Ayutthaya in 1767, the Prince of Nakhon Si Thammarat made an abortive bid for independence, but was pardoned by Taksin and retired to Thonburi. At the end of the 19th century, the kingdom was finally fully absorbed into Siam by converting it into the Monthon Nakhon Si Thammarat. When the monthon system was abolished in 1932, the town became a provincial capital.




Chang Klang District






Amphoe location in Nakhon Si Thammarat Province
Coordinates: 8°22′27″N 99°34′5″E
Country Thailand
ProvinceNakhon Si Thammarat
SeatChang Klang
Area
 • Total232.5 km2 (89.8 sq mi)
Population (2005)
 • Total29,594
 • Density127.3/km2 (330/sq mi)
Time zoneTHA (UTC+7)
Postal code80250
Geocode8022
Chang Klang (Thai: ช้างกลาง) is a district (Amphoe) of Nakhon Si Thammarat Province,southern Thailand.

HistoryEdit

The district was created on July 15, 1996 by splitting the three นsoutheastern tambon fromChawang district.[1]
Following a decision of the Thai government on May 15, 2007, all of the 81 minor districts were to be upgraded to full districts.[2] With the publishing in the Royal Gazette on August 24 the upgrade became official .[3]

GeographyEdit

Neighboring districts are (from the north clockwise) ChawangLan SakaThung Songand Na Bon.

AdministrationEdit

The district is subdivided into 3 subdistricts (tambon), which are further subdivided into 35 villages (muban). There are no municipal (thesaban) areas, and 3 Tambon administrative organizations (TAO).


No.NameThai nameVillagesInh.    
1.Chang Klangช้างกลาง1716,989
2.Lak Changหลักช้าง107,581
3.Suan Khanสวนขัน185,024

Recommend Menu from Nakhon Si Thammarat


               Kanom Jeen  Nam  Ya


                                 
                         Khao  Yam

                        Sour  soup 


                     Chingcan


                              Fish organs sour  soup 


Top Tourist attractions in Nakhon  Si  Thammarat 

Chang Klang District



1.Namtok Tapea

2.Namtok Soun Ay

3.Namtok Sounkhun

4.Wad Sounkhun


5.Wad  Tatnoi

6.kaomhen Viewpoint

Festivals and traditions



ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ

ประเพณีสารทเดือนสิบ

ประเพณีชักพระ

เทศกาลมหาสงกรานต์แห่นางดานเมืองนครศรีธรรมราช




Sunday, July 31, 2016

Mother's Day

                         




                            Mother's Day 

Lights deck the royal avenue. Portraits of the Queen, mother of the nation, rise throughout the country. The sweet, pure scent of jasmine fills the air. Children kneel at their mothers’ feet and tears flow freely. These are the scenes and experiences to behold during each Mother’s Day in Thailand.
While Mother’s Day is held dear in many cultures throughout the world, Mother’s Day in Thailand is doubly special. Celebrated on the Queen’s birthday, August 12th, the holiday rings forth with pageantry, emotion and beauty.
Read on to learn more about Her Majesty Queen Sirikit, how Thais celebrate Mother’s Day, Mother’s Day gifts in Thailand, the dates when Mother’s Day is held, and a few useful phrases – like Happy Mother’s Day – in Thai

.About Her Majesty Queen Sirikit
As the wife of the longest reigning monarch in the world, His Majesty King Bhumibol (Rama the IX), Her Majesty Queen Sirikit is also the world’s longest reigning royal consort, having presided over the Kingdom of Thailand in her royal role for over 6o years.
As a young queen, she rose to prominence in part for her grace and beauty. Embracing the elegance of Thai silks, she played a key role in the revival and growth of this Thai art, and in the period surrounding Thailand’s Mother’s Day celebrations, you are likely to see a number of portraits of her from throughout her reign, clad in exquisite dresses of this quintessentially Thai material. Her Majesty is also renowned for extensive charity work, including the work of the Thai Red Cross and numerous development projects throughout the country.
Regarded as Mother of the Nation, Queen Sirikit’s birthday has been declared Thailand’s official Mother’s Day. On August 12th of each year, the two occasions are celebrated in concert – with public festivities such as parades and ceremonies and private family get-togethers and intimate outpourings of emotion between mother and child.

How Do Thais Celebrate Mother’s Day?
Like many important occasions, alms giving to monks forms a meaningful part of the traditional Mother’s Day celebrations. Early in the morning, ceremonies are held to give offerings of food to Thailand’s saffron-robed Buddhist monks.
Schools in Thailand typically host a Mother’s Day ceremony. (The ceremony is held perhaps a day before the official holiday as on the day itself all schools, government offices and most businesses are closed.) Students may spend weeks beforehand rehearsing performances and the proper steps of the ceremony. On the special day, mothers come to their child’s school and each child kneels at his or her mother’s feet, paying respect to mom for all that she has done for them. Within these heartfelt moments, it’s common to see mothers wiping tears from their eyes and many children doing the same (and sometimes onlookers as well).
It’s also become quite common for families to celebrate their love for mom by taking her out for a special meal. Particularly in Bangkok and other large cities and developed locations like Chiang Mai and Phuket, many restaurants offer Mother’s Day specials. Hotels and resorts also offer Mother’s Day packages. So if you are visiting or residing in Thailand during this period you may want to be on the look out for restaurant and hotel specials.

 Mother’s Day Gifts in Thailand
The traditional Mother’s Day gift in Thailand is jasmine. This delicate white flower is imbued with a sweet perfumed fragrance. Called “dok mali” in Thai (ดอกมะลิ), jasmine is used in worship and is also seen as symbol of purity, gentleness and motherhood. Jasmine is sold in open white blossoms (its most characteristic form as a symbol of motherhood) as well as in exquisitely crafted flower garlands and white fabric or other synthetic blossoms.
Like in many other countries, children will often create a handmade Mother’s Day card. Young children and adult children may also give their mother a special gift in addition to or instead of jasmine. Foods, sweets, jewelry, handbags, tech gizmos, warm messages in a phone call, a special lunch, a weekend at the beach, a sprig of jasmine — the gifts vary widely according to each familyม each child’s age and their circumstances, but the sentiment is always is the same… thanking mom and honoring her for her sacrifice and dedication.


Wednesday, June 29, 2016

                                 
                                 คณะสัตวเเพทย์





        สัตวแพทย์ คือ แพทย์ที่รักษาสัตว์ หรือกล่าวแบบภาษาชาวบ้านว่า "หมอรักษาสัตว์" โดยคำว่า veterinarian นิยมใช้ในอเมริกาเหนือ ถูกใช้เป็นครั้งแรกโดยโทมัส บราวน์ (Thomas Browne) หรือ veterinary surgeon นิยมใช้ในยุโรป ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละติน คือ veterinae โดยมีหมายความว่า draught animals บางครั้งอาจจะใช้คำสั้นๆ ว่า "Vet"

ในประเทศไทย คาดว่า คำว่า สัตวแพทย์ พล.ต. ม.จ.ทองฑีฆายุ ทองใหญ่ ผู้ซึ่งเป็นพระบิดาของวิชาสัตวแพทย์สมัยใหม่ เป็นผู้ใช้คำนี้ โดยทรงก่อตั้งโรงเรียนอัศวแพทย์ทหารบก ซึ่งได้พัฒนาต่อมาเป็นโรงเรียนนายสิบสัตวแพทย์ และ โรงเรียนนายดาบสัตวแพทย์ทหารบก ตามลำดับ ซึ่งถือว่าเป็นการศึกษาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ครั้งแรกของประเทศไทย โดยต้องการผลิตกำลังพลป้อนกองทัพ และได้พัฒนาเป็นแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ ตั้งอยู่ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย์ พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ เป็นปฐมคณบดี ซึ่งถือว่าเป็นการศึกษาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ ในสถานศึกษาพลเรือนเป็นครั้งแรก เพื่อผลิตสัตวแพทย์ ในระดับปริญญา ต่อมาได้มีการพัฒนาเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ สังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายพัฒนาประเทศในสมัยนั้น รัฐบาลได้โอนคณะสัตวแพทยศาสตร์มาสังกัด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีพุทธศักราช 2497 โดยมีการเรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จำนวน 2 ปี และไปเรียนที่ถนน อังรีดูนัง อีก 4 ปี ต่อมาได้มีการย้ายกิจการคณะไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และจัดตั้งเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบันเมื่อปี พุทธศักราช 2510 แต่ก็ยังมีอาจารย์และนิสิตส่วนหนึ่งอยู่พัฒนาคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อไป โดยได้เชิญอธิบดีกรมปศุสัตว์ในสมัยนั้น คือ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.จักร พิชัยรณรงค์สงคราม เป็นคณบดี และถือว่า ท่านคือ บิดาของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อย่างไรก็ตาม กรมปศุสัตว์ ก็เปิดสอนวิชาสัตวแพทยศาสตร์ ในระดับประกาศนียบัตร ณ โรงเรียนสัตวแพทย์ (Paraveterinary School)เพื่อผลิตบุคลกรให้กรมปศุสัตว์ เพื่อบรรเทาความขาดแคลนสัตวแพทย์ของประเทศ โดยมีเพลงนกน้อยในไร่ส้มเป็นเพลงที่ถูกแต่งเพื่อชื่นชมการปฏิบัติหน้าที่ของสัตวแพทย์ในชนบท และถูกนำไปใช้ในวิชาชีพสื่อสารมวลชน ต่อมา
สำหรับประเทศไทย คำว่า "สัตวแพทย์" สามารถสื่อความหมายได้ 2 กรณี คือ สัตวแพทย์ (Paravet) และ นายสัตวแพทย์ (Veterinarian) นายสัตวแพทย์ คือ บุคคลที่เรียนจบสัตวแพทย์ ในระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้รับคุณวุฒิ ปริญญาทางสัตวแพทยศาสตร์ (สพ.บ.) และ ได้รับ ใบประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง
สัตวแพทย์ คือ บุคคลที่เรียนจบ โรงเรียนสัตวแพทย์ ของ กรมปศุสัตว์ ได้รับประกาศนียบัตร (2ปี) และได้รับ ใบประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ชั้น สอง ปัจจุบัน โรงเรียนสัตวแพทย์ ของกรมปศุสัตว์ ได้ยุบและโอนย้ายไปเป็น คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดทำการสอนในระดับปริญญา ด้าน เทคนิคการสัตวแพทย์ (4ปี)

อ้างอิง:https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C